สรุป พรบ.​ คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ 2558 แบบรวบรัด: 

อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้

27 ตค 66

นพ.พัฒน์ศมา วิจินศาสตร์วิจัย

วว.สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา, วว.เวชศาสตร์การเจริญพันธุ์, 

ป.ผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช, MClinEmbryol,
EFOG-EBCOG., EFRM-ESHRE/EBCOG.

พรบ.อุ้มบุญ หรือ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 

เป็นพรบ. ที่ออกโดยกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 และจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2558 (รัฐบาล คสช) โดยเป็นกฎหมายที่กำหนดกรอบและบทลงโทษไว้หลายอย่าง บทความนี้จะมาสรุปแบบย่อก่อน แล้วเดี๋ยวจะเขียนรายละเอียดต่อไป


สำหรับพรบ. ฉบับเต็มและอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้องทั้งหมดสามารถโหลดได้ที่นี่ 

สรุป พรบ.​อุ้มบุญ 2558

หมอได้สรุปข้อกฎหมายตาม พรบ.​ คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 เป็นประเด็นดังตารางด้านล่าง สำหรับใครที่อยากได้ pdf สามารถดาวน์โหลดได้ที่นี่เลยครับ 

บทความต่อไปจะมาขยายรายละเอียดของแต่ละกรณีพิเศษของการรักษามีบุตรยาก ทั้งการบริจาคอสุจิ บริจาคไ่ข่ การตั้งครรภ์แทน มีเงื่อนไขอะไรบ้างที่ทำได้ ทำอย่างไร พรบ. กำลังมีความพยายามจะแก้ไขเนื่องจากความไ่ม่สะดวกในหลายประเด็น คนไข้เธอคิดว่าตรงไหนมันติดขัดบ้างขอความเห็นหน่อยสิ 

แสดงความคิดเห็น